A Cancer of the Soul
Click here: John Leake The post A Cancer of the Soul appeared first on LewRockwell.
Click here: John Leake The post A Cancer of the Soul appeared first on LewRockwell.
submitted by /u/Historical_Donut6758 [link] [comments]
submitted by /u/AbolishtheDraft [link] [comments]
บทวิเคราะห์ว่าด้วยข้อวินิจฉัยต่อทุนนิยมโดยวอลเตอร์ เบนจามิน เฉียนสื่อ. บทความต้นฉบับ: Capitalism as Religion and The Myth of Capitalist Nature 9 มีนาคม 2019. แปลเป็นภาษาไทยโดย Kin โดย เฉียนสื่อ “เราอาจมองเห็นร่องรอยของศาสนาได้ในทุนนิยม กล่าวคือ ทุนนิยมมีบทบาทสำคัญในการบรรเทาความกังวล ความทุกข์ทรมาน และความปั่นป่วนที่ศาสนาในอดีตเคยพยายามตอบสนอง” “ทุนนิยมอาจเป็นตัวอย่างแรกของลัทธิความเชื่อที่สร้างความรู้สึกผิดแทนที่จะสร้างการไถ่บาป” – วอลเตอร์ เบนจามิน, Capitalism as Religion “มายาคติไม่ได้ปฏิเสธสิ่งต่างๆ กลับกัน หน้าที่ของมันคือพูดถึงสิ่งเหล่านั้น เพียงแต่มันทำให้สิ่งเหล่านั้นบริสุทธิ์ ให้ดูไร้เดียงสา สร้างความชอบธรรมด้วยการบอกว่าสิ่งนั้นเป็นธรรมชาติและเป็นนิรันดร์ และให้ความกระจ่างที่ไม่ใช่ในรูปของคำอธิบาย แต่ด้วยการยืนยันข้อเท็จจริง” – โรล็อง บาร์ตส์, Mythologies: Myth Today มีวิธีการมากมายในการอธิบายและแสดงให้เห็นถึงระบบแห่งการครอบงำ กดขี่ กีดกัน แปลกแยก และปล้นชิงที่เราเรียกว่าทุนนิยมนี้ สำหรับวอลเตอร์ เบนจามิน วิธีเดียวที่จะเข้าใจทุนนิยมคือการมองมันเป็นระบบศาสนา ระบบที่คนแต่ละคนต้องมีส่วนร่วมในพิธีกรรมที่ปราศจากทั้งเทววิทยาและหลักคำสอน แต่ในท้ายที่สุด กลับต้องทำ “เครื่องบูชา” เพื่อสนองความทะเยอทะยานทางโลกของตนให้เต็มอิ่ม ความเคารพบูชาที่มีต่อสินค้า (commodity) ในระดับเดียวกับลัทธิความเชื่ออื่นๆ นี้สะท้อนออกมาผ่านศัพท์เฉพาะในโลกทุนนิยม เช่น การลงทุน ตลาดกระทิง ตลาดหมี ราคาเสนอ แนวโน้มตลาด ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สิทธิพึงมี 9-5 เป็นต้น คำศัพท์เหล่านี้ล้วนมีความหมายพิเศษในศาสนาทุนนิยม ทุกคำล้วนปลุกเร้าให้เกิดความเข้าใจใน “กลไกภายใน” ของทุนนิยมในระดับของลัทธิที่ดำรงอยู่ผ่านการกล่าวถึงและการปฏิบัติอย่างศรัทธา แม้แต่สิ่งที่เป็นวัตถุในการหมุนเวียนหรือสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนอย่าง เงินกระดาษ […]
Tweet In the final edition of his remarkable Tariff History of the United States, the Harvard economist Frank Taussig (1859-1940) ended his chapter on the McKinley tariff of 1890 with this line (page 241): The act of 1890 boldly proposed something more: a radical extension of the protective system. The question of principle never was so squarely presented. He opens the next chapter (on the tariff of 1894) with this observation (page 243): THE QUESTION of principle which was […]
Tweet Here’s a letter to the New York Times. (For alerting me to Atkinson’s op-ed, I thank Jack Nicastro.) Editor: Robert Atkinson’s case for devaluing the dollar as a means of protecting America’s economy from China is stuffed with fallacies both factual and theoretical (“We Are in an Industrial War. China Is Starting to Win.” January 9). A key factual error is his claim that “China’s incursions … have cost America millions of manufacturing jobs.” The evidence that […]
By the time Arthur Terminiello arrived at Chicago’s West End Woman’s Club on a Thursday evening in February 1946, a hostile crowd that would swell to 1,000 or so protesters had already gathered outside the auditorium. They were outraged by the event at which Terminiello was scheduled to speak: a Christian Veterans of America meeting organized by the evangelist Gerald L.K. Smith, a flagrantly antisemitic populist and spectacularly unsuccessful presidential candidate who had founded the America First Party […]
Anti-gouging laws prevent the sudden increase in the price of goods due to unforeseen events, like disease or disasters. It does not control the sale value of goods at all. So in an anti-gouging law set at 10%, you can sell your water bottle for whatever price you want as long as you increase your price no more than 10% compared to the price 30 days before something disastrous hits. So you still get your normal profit plus […]